Janida Eiampailin
|
การศึกษาภาวะแทรกซ้อนระดับเสียงในภาษาไทยมาตรฐานของคนจีนแต้จิ๋วในกรุงเทพฯ
|
2547
|
มหิดล
|
|
Jirasak Mutitaporn
|
วิวัฒนาการของการสรรหาบุคคลเข้ารับราชกาลฝ่ายพลเรือนของจีน
|
2510
|
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
|
|
Jurairat So-Bha
|
การศึกษาระบบเสียงภาษาจีนแคะถิ่นซิงหนิง
|
2544
|
มหิดล
|
|
Marisa Kotani
|
การเปลี่ยนแปลงบทบาทของโรงเรียนสอนภาษาจีนในประเทศไทย ช่วงก่อนและหลังทศวรรษ 1990
|
2545
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
Nachon Treepornthip
|
ความเข้าใจความหมายของคำยืมภาษาจีนถิ่นแต้จิ๋วในการใช้ภาษาไทย
|
2547
|
มหิดล
|
|
Niwat Tanphaisal
|
บทบาทชาวจีนในหัวเมืองชายฝั่งทะเลตะวันตก พ.ศ. 2411-2475
|
2534
|
ศรีนครินทรวิโรฒ
|
|
Nontaporn Prompitukporn
|
การใช้ภาษาจีนกลางในชีวิตประจำวันของคนไทยเชื้อสายจีนในกรุงเทพมหานคร
|
2545
|
มหิดล
|
|
Pakinee Sangsawang
|
การศึกษาชื่อร้านค้าธุรกิจของคนไทยเชื้อสายจีนตามแนวภาษาศาสตร์ : กรณีศึกษาเขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร
|
2545
|
มหิดล
|
|
Pichanee Sawattayawong
|
ป้ายมงคลจีน : การศึกษาความหมายและการใช้ในสังคมจีนแต้จิ๋วในกรุงเทพมหานคร
|
2546
|
มหิดล
|
|
Saweang Ratanamongkolmat
|
Administration of Overseas Chinese Association Affairs : A Case Study of the Tae Chew Association in Thailand
|
2509
|
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
|
|
Wandee Saengtummachai
|
การศึกษาเปรียบเทียบระบบเสียงภาษาจีนแคะเหมยเสี้ยนในกรุงเทพมหานครกับภาษาจีนแคะเหมยเสี้ยนในประเทศจีนโดย ฮาชิโมโต
|
2546
|
มหิดล
|
|
Wilasinee Fungladda
|
การเลือกคู่ครองของคนไทยเชื้อสายจีน : กรณีศึกษาในเขตเทศบาลนคร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
|
2545
|
มหิดล
|
|
Yadaakhunut Wangset
|
การใช้คำเรียกขานของคนจีนแต้จิ๋วในกรุงเทพมหานคร
|
2545
|
มหิดล
|
|
กนิษฐา ไทเตชะวัฒน์
|
บทบาทของขุนนางไทยเชื้อสายจีนในประเทศไทยในสมัยรัชกาลที่ 3 ถึงรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.2367-2453)
|
2533
|
มศว ประสานมิตร
|
|
กมลชนก คงแก้ว
|
ศึกษาเสียงและระบบเสียงภาษาไทยถิ่นที่ชาวไทยเชื้อสายจีนแคะ สามระดับอายุใช้ในอำเภอเบตง จังหวัดยะลา
|
2544
|
ทักษิณ
|
|
กมลทิพย์ ห่อเพชร
|
การเปรียบเทียบเสียงวรรณยุกต์ในคำภาษาไทยมาตรฐานที่พูดโดยกลุ่มชาติพันธุ์ ไทย มลายู และจีน ในตำบลสะเดา และตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
|
2544
|
ทักษิณ
|
|
กมลาศ สาลี
|
อิทธิพลของค่านิยมของครอบครัวที่มีผลต่อความสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของบุตร : กรณีศึกษาครอบครัวไทยเชื้อสายจีนเขตบางรัก กรุงเทพมหานคร
|
2542
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
กรรณิการ์ โกวิทกุล
|
การเปรียบเทียบภาษิตคำพังเพยจีนกับสำนวน-ภาษิตไทย
|
2544
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
กฤษฎา พิณศรี และ ชรินรัตน์ อิงพงษ์พันธ์
|
การปรับตัวของคนไทยเชื้อสายจีนภายใต้วัฒนธรรมเขมรสุรินทร์
|
2548
|
ราชภัฏสุรินทร์
|
|
กอแก้ว ศิริกุล
|
การตั้งถิ่นฐานและการปรับปรนทางวัฒนธรรมของคนไทยเชื้อสายจีนเพื่อสร้างสังคมเข้มแข็งในจังหวัดกาฬสินธุ์
|
2551
|
มหาสารคาม
|
|
กัลญาณี กิจโชติประเสริฐ
|
การเปรียบเทียบเทคนิคการหล่อโลหะในประเทศจีนและประเทศไทย
|
2537
|
ศิลปากร
|
|
กาญจนา จินตกานนท์
|
นโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับภาษีอากรการพนัน
|
2530
|
ศิลปากร
|
|
กานต์ชนก ประกาศวุฒิสาร
|
ผลกระทบจากการดำรงอยู่ของกองกำลังทหารจีนคณะชาติ "ก๊กมินตั๋ง" ในภาคเหนือต่อการดำเนินนโยบายต่างประเทศไทยระหว่างปีพ.ศ.2549-2527
|
2546
|
เชียงใหม่
|
|
กิ่งกาญจน์ บัวแก้ว
|
นโยบายต่างประเทศไทยต่อสารธารณรัฐประชาชนจีน: ศึกษานโยบายของรัฐบาล พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เปรียบเทียบกับนโยบายของรัฐบาลนายชวน หลีกภัย
|
2550
|
รามคำแหง
|
|
กิตติกร คนศิลป
|
นัยสำคัญของนโยบายการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการของไทย แก่สาธารณรัฐประชาชนจีน 2518-2530
|
2531
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
กิติ ยิ่งยงใจสุข.
|
มโนทัศน์เรื่องความตายในคัมภีร์จวงจื๊อ
|
2538
|
จุฬาลงกรณ์
|
|
กุญชรี ศรีสุทธิสอาด
|
การศึกษาความสัมพันธ์และเปรียบเทียบความเกรงใจ การรักษาหน้า และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ระหว่างนักเรียนเชื้อสายไทย กับนักเรียนไทยเชื้อสายจีน ในกรุงเทพมหานครและจังหวัดภาคใต้
|
2516
|
บูรพา
|
|
เกศราพร มากจันทร์
|
การวิเคราะห์สารคดีท่องเที่ยวสาธารณรัฐประชาชนจีน พระราชนิพนธ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
|
2546
|
ศิลปากร
|
|
เกษม ปราณีธยาศัย
|
ผู้ชายในครอบครัวจีน กรณีศึกษา : ครอบครัวคนจีนแต้จิ๋วใน ตำบลมหาชัย อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร
|
2544
|
ศิลปากร
|
|
เกษวดี พุทธภูมิพิทักษ์
|
ความเป็นจีนตามนิยามของผู้มีเชื้อสายจีนในอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
|
2545
|
เชียงใหม่
|
|
แก้วตา จันทรานุสรณ์
|
คนจีนกับการผลิตสร้างวัฒนธรรมสาธารณะในเทศบาลขอนแก่น
|
2551
|
มหาสารคาม
|
|
ขรรค์ชัย อภิสุภาพ
|
ความเชื่อเกี่ยวกับศาลเจ้าจีนในเขตเทศบาลนครสงขลา อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
|
2547
|
ทักษิณ
|
|
ขวัญทิชา เชื้อดี
|
แรงจูงใจในด้านภาษีและราคาโอนเพื่อการลงทุนในประเทศจีน
|
2545
|
เชียงใหม่
|
|
คนึงนิจ ปัทมปราณี
|
ศึกษาคำยืมภาษาจีนที่ใช้ในภาษาไทยถิ่น ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
|
2542
|
ทักษิณ
|
|
คม ศิลปสอน
|
วัดพุทธสายจีนนิกาย
|
2546
|
ศิลปากร
|
|
คะนึง โยธาใหญ่
|
การวิเคราะห์ศักยภาพการส่งออกลำไยอบแห้งไปสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
2541
|
เชียงใหม่
|
|
งามจิตร์ จันทร์แก้ว
|
ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการสอนภาษาไทยของนักเรียนที่เป็นชาวจีนฮ่ออิสระ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6
|
2543
|
เชียงใหม่
|
|
จงจิต กล่อมสิงห์
|
การรักษาเอกลักษณ์ของคนไทยเชื้อสายจีนในเมืองเชียงใหม่
|
2546
|
เชียงใหม่
|
|
จงดี ยั่งยืน.
|
การศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดทางอภิปรัชญาและจริยศาสตร์ในคัมภีร์ภควัทคีตาและคัมภีร์เต๋า เตอ จิง
|
2526
|
จุฬาลงกรณ์
|
|
จเด็จ อินสว่าง
|
กลุ่มอิทธิพลและกลุ่มผลประโยชน์ชาวจีนกับการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยในเมืองไทย ศึกษาเฉพาะกรณียชนชั้นกลางสัญชาติจีนบางกลุ่มกับการมีส่วนร่วมในทางการเมือง
|
2518
|
ธรรมศาสตร์
|
|
จตุพร มหาพรหม
|
การวิเคราะห์ตัวละครชายชาวจีนในนวนิยายไทย ช่วง พ.ศ.2510-2537
|
2540
|
ศรีนครินทรวิโรฒ
|
|
จันทิรา แกมขุนทด
|
ศึกษาประเพณีในรอบปีของชาวไทยเชื้อสายจีน ในเขตเทศบาลเมืองภูเก็ต อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต
|
2544
|
ทักษิณ
|
|
จารุพร กฤษณพุกต์
|
สถาบันเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
2525
|
ศิลปากร
|
|
จินตนา งามสว่าง
|
การอบรมเลี้ยงดูบุตรของสตรีไทยเชื้อสายจีนในกรุงเทพมหานคร
|
2542
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
จินตนา ธันวานิวัฒน์
|
การศึกษาเปรียบเทียบความเปรียบในสามก๊กฉบับจีนกับฉบับไทย
|
2527
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
จิราณัฐ งามพัฒนะกุล
|
การใช้คำลักษณะนาม /KSJ55/ ของชาวแต้จิ๋วในประเทศไทย
|
2534
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
จีหยวน, เรน
|
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อและพิธีกรรมเกี่ยวกับการนับถือวิญญาณ บรรพบุรุษของชาวจีนกับชาวไทยเชื้อสายจีน ในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา
|
2551
|
ทักษิณ
|
|
จุฑามณีนุช สืบสายไทย
|
สมาคม : ลักษณะการรวมกลุ่มของชาวจีนในประเทศไทย : กรณีศึกษาสมาคมตระกูลเฮ้งแห่งประเทศไทย
|
2545
|
ศิลปากร
|
|
จุฑารัตน์ รื่นภาคเพ็ชร์
|
การวิเคราะห์อุปสงค์นำเข้าแอปเปิลจากจีน ภายใต้ความตกลงการค้าเสรีไทย-จีน
|
2548
|
เชียงใหม่
|
|
ฉลวย คำนึงเนตร
|
พฤติกรรมการวางแผนครอบครัวของสตรีชาวจีน ในเขตเทศบาลนครหลวง กรุงเทพธนบุรี
|
2515
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
ฉิน หยงหลิน
|
สำนวนจีนและสำนวนไทย : การศึกษาเปรียบเทียบ
|
2526
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
เฉลิมรัฐ ขนอม
|
ศึกษาความเชื่อและพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับเจ้าแม่กวนอิม ของชาวไทยเชื้อสายจีนในเขตเทศบาลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
|
2544
|
ทักษิณ
|
|
เฉี่ยวเหมย หลี
|
ศึกษาเปรียบเทียบโครงสร้างทางภาษาและวัฒนธรรมในปริศนาคำทายของจีนกับไทย
|
2554
|
เชียงใหม่
|
|
ชนิกา คำพุฒ
|
การศึกษาการใช้ภาษาไทยของนักศึกษาจีนวิชาเอกภาษาไทยชั้นปีที่4 สถาบันชนชาติยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน
|
2545
|
เชียงใหม่
|
|
ชรินรัตน์ อิงพงษ์พันธ์
|
การศึกษาประวัติความเป็นมา วิถีชีวิต และสัมพันธ์ภาพของคนไทยเชื้อสายจีน: กรณีศึกษาสมาคมแซ่ตั้ง สมาคมแซ่เตีย และสมาคมแซ่อึ๊งในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดสุรินทร์
|
2548
|
ราชภัฏสุรินทร์
|
|
ชะลอ บุญช่วย
|
ความเชื่อที่ปรากฎในพิธีกรรมของชาวไทยเชื้อสายจีน ในอำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
|
2532
|
ศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา
|
|
ชัชศรันย์ เชิดชูตระกูลชัย
|
สำนวนกริยากรรมแบบสามพยางค์ที่ใช้บ่อยในภาษาจีน
|
2544
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
ชัญญพร ปริญญาวุฒิชัย
|
การศึกษาเปรียบเทียบสำนวนที่มีตัวเลขในภาษาจีนและภาษาไทย
|
2543
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
ชาญวิทย์ บัณฑิตเสาวภาคย์.
|
มโนทรรศน์เรื่องมนุษย์ในปรัชญาเต๋าสมัยแรก
|
2529
|
จุฬาลงกรณ์
|
|
ชุตินธรา วัฒนกุล
|
กรือเซะ : ความสัมพันธ์ระหว่างชาติพันธุ์ ปรัมปรานิยายและพิธีกรรม
|
2537
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
ซ่อนกลิ่น พิเศษสกลกิจ
|
ภาษาจีนและภาษไทยถิ่นเป็นประโยชน์เพียงใดในการค้นคว้าหาที่มาของคำในภาษาไทย
|
2489
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
ญาณาธิป เตชะวิเศษ
|
พัฒนาการแนวคิดมนุษยนิยมในทัศนะของตู้เหวยหมิง
|
2558
|
ธรรมศาสตร์
|
|
ญาดา ประภาพันธ์
|
ระบบเจ้าภาษีนายอากรสมัยกรุงเทพฯยุคต้น
|
2519
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
ฐิติวรรณ ศรีเจริญ
|
ปัจจัยที่กำหนดการลงทุนของไทยในจีน
|
2541
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
ณปรัชญ์ บุญวาศ
|
ทัศนะในการมองสังคมจีนของหลู่ซิ่น : ศึกษาจากงานเขียน
|
2543
|
ธรรมศาสตร์
|
|
ณรงค์ พ่วงพิศ
|
นโยบายเกี่ยวกับจีนในประเทศไทย ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
|
2518
|
ศรีนครินทรวิโรฒ
|
|
ณัฎฐินี ภาสะพงศ์
|
ปรัชญาประวัติศาสตร์ของขงจื๊อ
|
2537
|
จุฬาลงกรณ์
|
|
ณัฏฐภัทร จันทวิช
|
เครื่องถ้วยจีนที่พบจากแหล่งโบราณคดีในประเทศไทย
|
2524
|
ศิลปากร
|
|
ณัฐกฤตา สุวรรณภักดี
|
มาตรการจำกัดบทบาทททางเศรษฐกิจของชาวจีนในประเทศไทยและผลกระทบต่อสถานภาพทางสังคมของชนชั้น
|
2551
|
รามคำแหง
|
|
ณัฐธิดา สุขมนัส
|
ความเชื่อเรื่องฮวงจุ้ยในวิถีชีวิตของชาวไทยเชื้อสายจีนในกรุงเทพมหานคร
|
2539
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
ดวงกมล สุนทรขัณฑ์
|
การศึกษาผลกระทบต่อไทยเมื่อจีนเข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกโดยใช้แบบจำลอง
|
2544
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
เตือนพิศ ชัยพรหมประสิทธิ์
|
สถานภาพและบทบาทสตรีในครอบครัวจีนในสังคมไทยปัจจุบัน : กรณีศึกษากลุ่มอนุรักษ์นิยมในกรุงเทพมหานคร
|
2531
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
ถนอม ตะนา
|
กิจการโรงสีข้าวในที่ราบภาคกลางของประเทศไทย พ.ศ.2401-2481
|
2527
|
ศิลปากร
|
|
ทรงพล สุขุมวาท
|
ดนตรีจีนแต้จิ๋ว : กรณีศึกษาวงดนตรีคลองเตยเหลี่ยงหลักฮึง
|
2545
|
มหิดล
|
|
ทวี ธีระวงศ์เสรี
|
สถานภาพทางกฏหมายของชาวจีนในประเทศไทย
|
2516
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
ทิพดี นิมิตรพงศ์ธร
|
ศึกษาการผสมผสานทางวัฒนธรรมของชาวไทยพุทธ ชาวไทยเชื้อสายจีน และชาวไทยมุสลิม ในอำเภอเบตง จังหวัดยะลา
|
2547
|
ทักษิณ
|
|
ทิพย์พาพร เทศเรียน
|
พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย และพรรคคอมมิวนิสต์จีน : ศึกษาความสัมพันธ์ทางอุดมการณ์ ในช่วงปี 1969-1982
|
2530
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
ทิษฏยา โภชนา
|
ศีกษาประเพณีในรอบปีและจริยธรรมจากประเพณีของชาวไทยเชื้อสายจีนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
|
2548
|
ทักษิณ
|
|
ธมลวรรณ ตั้งวงษ์เจริญ
|
เอกลักษณ์ชาติพันธุ์ของคนไทยเชื้อสายจีนในชุมชนอ้อมใหญ่
|
2542
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
ธรรญาภรณ์ วงศ์บุญชัยนันท์
|
พิธีกงเต๊ก : ระบบสัญลักษณ์และระบบเครือญาติของชาวจีนแต้จิ๋วในเยาวราช
|
2542
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
ธรรมศักดิ์ ชิตทรงสวัสดิ์
|
รูปแบบและคติความเชื่อที่ปรากฏในผลงานศิลปะแบบจีนในอำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด
|
2543
|
มหาสารคาม
|
|
ธันยพร ประชุม
|
บทบาทของชาวไทยเชื้อสายจีนในเขตเทศบางเมืองเลย
|
2547
|
ราชภัฏเลย
|
|
ธานี พันแสง
|
บทบาทด้านเศรษฐกิจและการเมืองของชาวจีนในเขตเทศบาเมืองร้อยเอ็ด พ.ศ.2398 ถึงพ.ศ.2540
|
2544
|
มหาสารคาม
|
|
ธานี สุขเกษม
|
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน : วิเคราะห์แนวนโยบายต่างประเทศของไทยที่มีต่อจีน พ.ศ.2492-2515
|
2525
|
ธรรมศาสตร์
|
|
ธีรารัตน์ พิทักษ์พนัสกุล
|
การศึกษาทักษะการสื่อสารภาษาจีนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวุฒิวิทยา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จังหวัดชลบุรี
|
2546
|
บูรพา
|
|
นงเยาว์ จิตตะปุตตะ
|
บทบาทของสิ่งพิมพ์รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯต่อการเมืองการปกครอง(พ.ศ.2453-2468)
|
2520
|
ศิลปากร
|
|
นงลักษณ์ จงรักวงศ์
|
ศึกษาอาหารที่ใช้ในประเพณีในรอบปีของชาวไทยเชื้อไทยเชื้อสายจีน ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
|
2542
|
ทักษิณ
|
|
นพดล กิตติกุล
|
คำยืมภาษาจีนฮกเกี้ยนที่ใช้ภาษาไทยถิ่น จังหวัดภูเก็ต
|
2534
|
ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
|
|
นพวรรณ กุลตัณฑ์
|
ปัญหาและความต้องการความช่วยเหลือการสอนภาษาจีนในโรงเรียนราษฎร์เพื่อสอนภาษาจีน
|
2526
|
ศรีนครินทรวิโรฒ
|
|
นภ อึ๊งโพธิ์
|
หรูหลินไว่ฉื่อ : นวนิยายแนวเสียดสีสังคมจีนสมัยหมิง-ชิง
|
2544
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
นภารัตน์ มณีรัตน์
|
ภาษาจีนแต้จิ๋วที่จังหวัดนครปฐม
|
2526
|
ศิลปากร
|
|
นฤบดี วรรธนาคม
|
ผลทางสังคมของภาพยนตร์จีนชุด"เปาบุ้นจิ้น"ที่มีต่อผู้ชมในกรงเทพมหานคร
|
2541
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
นฤมิตร สอดศุข
|
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน : วิเคราะห์ปัจจัย อุปสรรคและปัจจัยเสริมสร้าง ในการมีความสัมพันธ์ทางการทูตต่อกัน
|
2521
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
นวภรณ์ อังสาชน
|
การมีส่วนร่วมของกลุ่มเยาวชนในชุมชนกุฎีจีน
|
2541
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
นวลศรี จงถาวร
|
วิเคราะห์พระราชนิพนธ์บทความที่เกี่ยวข้องกับชาวจีนในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
|
2524
|
ศรีนครินทรวิโรฒ
|
|
นวลศรี พงศ์ภัทรวัต
|
บทบาทผู้นำชาวจีนฮกเกี้ยนในเกาะภูเก็ต ระหว่าง พ.ศ. 2396-2475
|
2543
|
ศรีนครินทรวิโรฒ
|
|
นันทกา วชิรพินพง
|
การศึกษาทัศนคติทางภาษาที่มีต่อภาษาจีนและผู้พูดภาษาจีนในกรุงเทพมหานคร
|
2530
|
ธรรมศาสตร์
|
|
นารท ศรียามินธน์.
|
มโนทัศน์เรื่องความแปรเปลี่ยนในปรัชญาจวงจื่อ
|
2544
|
จุฬาลงกรณ์
|
|
นารีรัตน์ ปริสุทธิวุฒิพร.
|
องค์ความรู้เรื่องจีนในประเทศไทย ตั้งแต่ ค.ศ.1975-1995.
|
2540
|
ธรรมศาสตร์.
|
|
นิคม ตังคะพิภพ
|
การศึกษาเปรียบเทียบบุคลิกภาพ ความเกรงใจ และความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนวัยรุ่นที่มาจากครอบครัวไทยและจีน
|
2516
|
ศรีนครินทรวิโรฒ
|
|